อาหารเสริมแตกต่างจากสมุนไพรและยาอย่างไร?

“อาหารเสริม ไม่ใช่ วิตามิน” “วิตามิน ก็ไม่ใช่ “ยา” แต่ “สมุนไพร คือ ยา” และทำไมถึงเป็นเช่นนั้น?

อาหารเสริมช่วยป้องกันโรค ชะลอวัย แต่ไม่ได้มีไว้เพื่อรักษาโรค

ทำไมหลายๆ ท่าน จึงเชื่อว่า อาหารเสริมคือ ยาวิเศษ

เพราะในปัจจุบัน อาหารเสริมถูกโฆษณาให้เป็นยา แต่จริง ๆ แล้ว อาหารเสริมนั้น ไม่ใช่ ยา หรือ ยาวิเศษ ใด ๆ ที่เมื่อทานเข้าไปแล้วจะสามารถรักษาโรคที่เป็นอยู่ให้หายขาดได้ อาหารเสริมนั้นเพียงทำหน้าที่ในการช่วยป้องกันโรค และชะลอวัย เพื่อไม่ให้เซลล์ในร่างกายเสื่อมไปตามกาลเวลาเท่านั้น

ผู้ป่วยบางท่าน ที่มีอาการเจ็บป่วยรุนแรง เรื้อรังมานานปี ปฎิเสธที่จะทานยา เพราะไม่อยากยอมรับว่าตนเองป่วย และภาวนาว่าอาหารเสริมนั้นจะทำหน้าที่รักษาโรคที่ตนเป็นอยู่ให้หายขาดได้ จึงได้เริ่มมองหาการรักษาแบบแพทย์ทางเลือก เพราะเชื่อว่าอาหารเสริมนั้นมีความปลอดภัยกว่า ถึงแม้ว่าจะต้องเสียเงินเพิ่มเป็นจำนวนมากขึ้นก็ตาม

ตัวอย่างของอาหารเสริมมีอะไรบ้าง?

  • กรดอะมิโน เช่น โปรตีน ทำหน้าที่ในการสร้างกล้ามเนื้อ, เป็นสารสื่อสัญญาณในระบบประสาท, สร้างเอนไซม์ของเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกาย
  • กรดไขมัน เช่น น้ำมันปลา น้ำมันรำข้าว น้ำมันอิฟนิ่งพรีมโรส
  • ฮอร์โมน เช่น วิตามินดี เมลาโทนิน DHEA PREGNENOLONE
  • สมุนไพร ประกอบด้วยตัวยาจากธรรมชาติ จึงจัดเป็นยา ไม่ใช่วิตามิน
  • เกลือแร่
  • วิตามิน
  • อื่น ๆ เช่น Stano, Beta-Glucan

ทำไมสมุนไพรถึง เปรียบเหมือน ยา?

ร่างกายของเราจะถือว่าสมุนไพรและยา เป็นสารแปลกปลอม (Xenobiotics) ที่ร่างกายไม่รู้จัก ร่างกายจะมีวิธีการกำจัดสารเหล่านั้นออกไป เพื่อป้องกันการสะสมพิษในร่างกาย

สมุนไพร ไม่ใช่วิตามิน?

ถึงแม้ว่าสมุนไพรจะเป็นสารจากธรรมชาติ แต่ในสภาวะปกติ ร่างกายไม่มีความจำเป็นต้องมีกลไกที่ต้องใช้สมุนไพร การใช้สมุนไพรถือว่าเป็นสารแปลกปลอม ดังนั้นควรระมัดระวังปริมาณในการใช้สมุนไพร เพราะสมุนไพรต่างๆ มีการออกฤทธิ์เหมือนกันกับยา

วิตามิน คืออะไร?

  • “วิตามิน เป็นสารอินทรีย์ที่มีชีวิต มีความจำเป็นที่ร่างกายต้องได้รับ” เพื่อการทำงานของเซลล์ให้เป็นไปอย่างปกติ
  • “วิตามิน ไม่มีพิษตกค้างสะสม” ถ้าไม่ทานขนาดที่สูงจนเกินไปมาก (ซึ่งในความเป็นจริงไม่มีมนุษย์คนไหนจะสามารถทานวิตามินได้สูงขนาดนั้น)
  • “วิตามิน” ไม่ใช่ “ยา” เพราะร่างกายมีความจำเป็นต้องการใช้ และมีกลไกตามธรรมชาติที่ร่างกายจะสามารถใช้วิตามินได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เหตุใดวิตามินจึงมีความสำคัญต่อร่างกาย?

ไม่มีหลักฐานพิสูจน์ที่แน่ชัดทางวิทยาศาสตร์ ว่าการรับประทานอาหารปกติ จะได้รับวิตามินที่เพียงพอในแต่ละวัน

วิตามินมีกี่ประเภท

1.วิตามินละลายน้ำ ได้แก่ วิตามินบี และ วิตามินซี (B,C)

2.วิตามินละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามิน เอ, ดี, อี, เค, (ADEK)

3.วิตามินที่ถูกค้นพบ ซึ่งมีความสำคัญต่อการทำงานของเซลล์ในร่างกาย ได้แก่ ไลโปอิค, โคคิวเทน (Lipoic Acid, Coenzyme Q10)

“เกลือแร่” มีความจำเป็นต่อการทำงานของร่างกาย หากได้รับในปริมาณสูง อาจเกิดโอกาสเป็นพิษได้ง่ายกว่า “วิตามิน”

 เกลือแร่ คืออะไร ?

  • เกลือแร่ คือ “ธาตุ” ที่จำเป็นต่อการทำงานของร่างกาย ต่างจากวิตามิน ที่เป็นสารอินทรีย์ที่มีองค์ประกอบเป็นคาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน
  • ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วย : Carbon 18% Hydrogen 10% Oxygen 65% Nitrogen 3% และ Minerals หรือเกลือแร่อีก 4%

เกลือแร่ที่มีความสำคัญ ได้แก่

  • โซเดียม
  • โปแตสเซียม
  • แคลเซียม
  • ฟอสฟอรัส
  • ไอโอดีน
  • เหล็ก
  • แมงกานีส
  • ทองแดง
  • สังกะสี
  • ซีลีเนียม

ตัวอย่างของเกลือแร่ที่เป็นพิษ


ธาตุเหล็กในคนที่เป็นโรคโลหิตจาง ธาลัสซีเมีย เกิดมาจาก เกลือแร่ที่เป็นพิษ
ส่วนเกลือแร่ที่มีค่าความถ่วงจำเพาะสูง (>4) เรียกว่า “โลหะหนัก” มีโทษต่อการทำงานของร่างกายเช่นกัน

อาหารเสริมเกลือแร่ (multiminerals) ที่ดีจะอยู่ในรูปที่เรียกว่า “amino-acid chelated” เพราะปลอดภัย และไม่เป็นพิษง่าย

กลับสู่สารบัญ

เกลือแร่อะไรบ้างที่ไม่ต้องทานเสริม

  • โซเดียม คือเกลือแร่ที่ไม่ต้องทานเสริม เพราะมีมากมายอยู่ในอาหารประเภทต่างๆ นอกจากนี้ เกลือแร่มักอยู่เป็นส่วนประกอบหนึ่งของกรดอะมิโน ที่ง่ายต่อการดูดซึมและสามารถนำไปใช้งานได้เลยทันที
  • ส่วนเกลือแร่ประเภทอื่นๆ เราอาจจะต้องได้รับจากแหล่งอื่นๆ เพราะแค่ในอาหารอาจจะไม่เพียงพอ

เราได้รับเกลือแร่จากที่ไหน?

  • เราได้รับเกลือแร่ที่อยู่ในดิน จากการดื่มน้ำที่มีเกลือแร่ และทานผักที่ปลูกในดิน

เราขาดเกลือแร่ได้อย่างไร?

  • การหันมาทานผักไฮโดรโปนิกส์ (hydroponics) คือการทานผักที่เพาะปลูกด้วยน้ำ จะทำให้เราขาดเกลือแร่ในร่างกาย
  • การดื่มน้ำกลั่น RO ที่ถูกบรรจุอยู่ในขวดพลาสติก ตามร้านสะดวกซื้อทั่วไป หรือน้ำดื่มที่ได้จากเครื่องกรองน้ำระบบรีเวอร์สออสโมซิส (Reverse Osmosis) ก็จะทำให้เราไม่ได้รับเกลือแร่ในแต่ละวันด้วยเช่นกัน

สรุป

  • วิตามิน ไม่ใช่ยา ไม่ก่อให้เกิดโทษ ซึ่งร่างกายมีความจำเป็นต้องการใช้ และมีกลไกที่จะใช้วิตามินได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการทำงานของเซลล์ให้เป็นไปอย่างปกติ
  • อาหารเสริม ไม่ใช่ยา และไม่ใช่วิตามิน อาหารเสริมมีไว้เพื่อช่วยป้องกันโรค ชะลอวัย แต่ไม่ได้รักษาโรค
  • สมุนไพร ถือว่า เป็นยา ซึ่งร่างกายถือว่า เป็นสารแปลกปลอม ซึ่งในสภาวะปกติของร่างกาย ไม่มีความจำเป็นต้องใช้สมุนไพรเลย ถ้าหากทานสมุนไพรเข้าไป ร่างกายจะมีกลไกการกำจัด เพื่อป้องกันการสะสมพิษในร่างกายออกมา

ขอขอบคุณหลักสูตร สาขาวิชาวิทยาการชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ (Anti Aging)

Latest

นอนอย่างไรให้หน้าเด็ก?

การนอนทำให้หน้าเด็กลงได้จริงหรือ? นอนดึก นอนผิดเวลา ทำให้หน้าแก่ อ้วนง่าย ลงพุง โรคภัย และตัวเตี้ย การนอนถือเป็นปัจจัยหลักที่มีความสำคัญต่อการฟื้นฟู และซ่อมแซมเซลล์ในร่างกาย ทำให้ร่างกายทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสมดุล...

ใครมีความเสี่ยงที่จะขาดวิตามิน?

การทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ จะทำให้เราได้รับปริมาณของวิตามินที่เพียงพอได้จริงหรือ? ความเชื่อที่ว่าการทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ จะทำให้เราได้รับปริมาณของวิตามินที่เพียงพอ คำถามคือเรารู้จริงๆ หรือว่าอาหารดังกล่าวที่เราทานเข้าไปนั้น...

ทานไขมันอย่างไรให้แข็งแรง?

เราควรเลือกรับประทานอาหารประเภทกรดไขมันอย่างไร ให้สุขภาพดีเหมาะกับชีวิตประจำวัน? โครงสร้างกรดไขมัน แบบอิ่มตัว และไม่อิ่มตัว กรดไขมันมีกี่ประเภท? อาหารประเภทไขมัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ประเภทของไขมัน (หน่วยย่อยที่สำคัญ)1.คอเลสเตอรอลกรดไขมันในเลือด2.ไตรกลีเซอร์ไรด์ (มักอยู่ในรูปแบบไขมันหรือน้ำมัน)...

Newsletter

[tds_leads input_placeholder="Email address" btn_horiz_align="content-horiz-center" pp_msg="SSd2ZSUyMHJlYWQlMjBhbmQlMjBhY2NlcHQlMjB0aGUlMjAlM0NhJTIwaHJlZiUzRCUyMiUyMyUyMiUzRVByaXZhY3klMjBQb2xpY3klM0MlMkZhJTNFLg==" msg_composer="" display="column" gap="10" input_padd="eyJhbGwiOiIxM3B4IDEwcHgiLCJsYW5kc2NhcGUiOiIxMnB4IDhweCIsInBvcnRyYWl0IjoiMTBweCA2cHgifQ==" input_border="1" btn_text="I want in" btn_icon_size="eyJhbGwiOiIxOSIsImxhbmRzY2FwZSI6IjE3IiwicG9ydHJhaXQiOiIxNSJ9" btn_icon_space="eyJhbGwiOiI1IiwicG9ydHJhaXQiOiIzIn0=" btn_radius="0" input_radius="0" f_msg_font_family="file_1" f_msg_font_size="eyJhbGwiOiIxMiIsInBvcnRyYWl0IjoiMTIifQ==" f_msg_font_weight="400" f_msg_font_line_height="1.4" f_input_font_family="file_1" f_input_font_size="eyJhbGwiOiIxMyIsImxhbmRzY2FwZSI6IjEzIiwicG9ydHJhaXQiOiIxMiJ9" f_input_font_line_height="1.2" f_btn_font_family="831" f_input_font_weight="400" f_btn_font_size="eyJhbGwiOiIxMiIsImxhbmRzY2FwZSI6IjEyIiwicG9ydHJhaXQiOiIxMSJ9" f_btn_font_line_height="1.2" f_btn_font_weight="400" pp_check_color="#000000" pp_check_color_a="var(--center-demo-1)" pp_check_color_a_h="var(--center-demo-2)" f_btn_font_transform="uppercase" tdc_css="eyJhbGwiOnsibWFyZ2luLWJvdHRvbSI6IjQwIiwiZGlzcGxheSI6IiJ9LCJwb3J0cmFpdCI6eyJtYXJnaW4tYm90dG9tIjoiMzAiLCJkaXNwbGF5IjoiIn0sInBvcnRyYWl0X21heF93aWR0aCI6MTAxOCwicG9ydHJhaXRfbWluX3dpZHRoIjo3Njh9" btn_bg="var(--center-demo-1)" btn_bg_h="var(--center-demo-2)" title_space="eyJwb3J0cmFpdCI6IjEyIiwibGFuZHNjYXBlIjoiMTQiLCJhbGwiOiIxOCJ9" msg_space="eyJsYW5kc2NhcGUiOiIwIDAgMTJweCJ9" btn_padd="eyJsYW5kc2NhcGUiOiIxMiIsInBvcnRyYWl0IjoiMTBweCIsImFsbCI6IjE3cHgifQ==" msg_padd="eyJwb3J0cmFpdCI6IjZweCAxMHB4In0=" msg_err_radius="0" msg_succ_bg="var(--center-demo-1)" msg_succ_radius="0" f_msg_font_spacing="0.5"]

Don't miss

นอนอย่างไรให้หน้าเด็ก?

การนอนทำให้หน้าเด็กลงได้จริงหรือ? นอนดึก นอนผิดเวลา ทำให้หน้าแก่ อ้วนง่าย ลงพุง โรคภัย และตัวเตี้ย การนอนถือเป็นปัจจัยหลักที่มีความสำคัญต่อการฟื้นฟู และซ่อมแซมเซลล์ในร่างกาย ทำให้ร่างกายทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสมดุล...

ใครมีความเสี่ยงที่จะขาดวิตามิน?

การทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ จะทำให้เราได้รับปริมาณของวิตามินที่เพียงพอได้จริงหรือ? ความเชื่อที่ว่าการทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ จะทำให้เราได้รับปริมาณของวิตามินที่เพียงพอ คำถามคือเรารู้จริงๆ หรือว่าอาหารดังกล่าวที่เราทานเข้าไปนั้น...

ทานไขมันอย่างไรให้แข็งแรง?

เราควรเลือกรับประทานอาหารประเภทกรดไขมันอย่างไร ให้สุขภาพดีเหมาะกับชีวิตประจำวัน? โครงสร้างกรดไขมัน แบบอิ่มตัว และไม่อิ่มตัว กรดไขมันมีกี่ประเภท? อาหารประเภทไขมัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ประเภทของไขมัน (หน่วยย่อยที่สำคัญ)1.คอเลสเตอรอลกรดไขมันในเลือด2.ไตรกลีเซอร์ไรด์ (มักอยู่ในรูปแบบไขมันหรือน้ำมัน)...

สุขภาพดีเทียบได้จากอะไร?

คุณอยากมีสุขภาพแบบไหนระหว่าง.. แบบคนรวย แบบคนฐานะปานกลาง แบบคนจน แน่นอนเป็นใครก็ต้องอยากรวยกันทั้งนั้น ว่าแต่ว่าสถานภาพทางการเงินมาเกี่ยวข้องกันได้ยังไงกับเรื่องของสุขภาพ? สุขภาพดีเทียบจากอะไร? มีที่มาจากไหน? จากแนวความคิดของเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ เปรียบเทียบโดยวัดจากเกณฑ์รายรับประชากรกับการตรวจสุขภาพกับแพทย์แผนปัจจุบัน จากแผนภาพประกอบ อธิบายได้ว่า1. Optimal Level (เกณฑ์...

นอนอย่างไรให้หน้าเด็ก?

การนอนทำให้หน้าเด็กลงได้จริงหรือ? นอนดึก นอนผิดเวลา ทำให้หน้าแก่ อ้วนง่าย ลงพุง โรคภัย และตัวเตี้ย การนอนถือเป็นปัจจัยหลักที่มีความสำคัญต่อการฟื้นฟู และซ่อมแซมเซลล์ในร่างกาย ทำให้ร่างกายทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสมดุล แถมยังช่วยให้หน้าเด็กและลดความเครียดได้ดีอีกด้วย ในสภาวะที่ร่างกายไม่ได้รับการพักผ่อนและอดนอน ร่างกายจะเกิดความเครียดขึ้นมาทั้งแบบภายในและภายนอก จนทำให้เกิดเป็นความเครียดสะสมเรื้อรังได้ มาเช็คลิสต์กันดีกว่าว่าคุณเคยพบเจอกับอาการดังกล่าวเหล่านี้กันบ้างไหม? คุณเคยมีอาการเหล่านี้บ้างมั้ย? เครียดโดยไม่ทราบสาเหตุ อยากทานของหวาน น้ำหวาน ตลอดเวลา หลับยาก หลับไม่สนิท หลับไม่ค่อยลึก ไม่ค่อยอยากลุกจากที่นอนในตอนเช้า มีอาการอ่อนเพลียระหว่างวัน ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ตึงตามตัวเป็นประจำ มีความเครียดสะสมระหว่างวัน เป็นโรคกระเพาะ อ้วนง่าย ลงพุง การอดนอนส่งผลต่อร่างกายอย่างไร? ความเครียดจากภายใน ส่งผลต่อระบบสมอง การอักเสบในร่างกาย  เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจ หลอดเลือด และเบาหวาน  ความเครียดจากภายนอก นอนไม่หลับ นอนหลับยาก หน้าเหี่ยว แก่ ไม่สดใส...

ใครมีความเสี่ยงที่จะขาดวิตามิน?

การทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ จะทำให้เราได้รับปริมาณของวิตามินที่เพียงพอได้จริงหรือ? ความเชื่อที่ว่าการทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ จะทำให้เราได้รับปริมาณของวิตามินที่เพียงพอ คำถามคือเรารู้จริงๆ หรือว่าอาหารดังกล่าวที่เราทานเข้าไปนั้น มีวิตามินชนิดใดอยู่ในนั้นบ้าง? ยังมีวิตามินอีกหลากหลายชนิดที่ไม่ได้มาจากอาหาร อาหารที่ผ่านกระบวนการแปรรูป (Processed Foods) เช่น ไส้กรอก เบคอน แฮม โบโลน่า อาหารแช่แข็ง อาหารกระป๋อง เค้ก ผลไม้แห้ง เนื้อสัตว์ หรือแม้แต่ผักผลไม้ต่างๆ...

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here

Index